2. สร้างความตลกขบขัน เล่นมุขตลกหรือเรื่องไร้สาระที่เกี่ยวข้องกับแบรนด์ แชร์มีมตลกหรือวิดีโอที่เกี่ยวข้องกับ April Fool’s Day หรือแบรนด์อาจมีจัดกิจกรรมการประกวดที่มีรางวัลแปลก ๆตัวอย่าง ในปี 2016, Oreo ประกาศเปลี่ยนสีคุกกี้ให้เป็นสีชมพู
3. สร้างการมีส่วนร่วม เชิญชวนลูกค้าให้ร่วมสร้างมุขตลกเกี่ยวกับแบรนด์ หรือเรื่องไร้สาระ สร้างฟิลเตอร์หรือเกมบนโซเชียลมีเดียที่เกี่ยวข้องกับ April Fool’s Day
แคมเปญ April Fool’s Day Marketing ควรมีความสนุกสนานและสร้างสรรค์ แต่ไม่ควรล่วงละเมิดหรือทำให้ลูกค้ารู้สึกโกรธเคือง แคมเปญควรมีความชัดเจนว่าเป็นเรื่องตลก และควรมีจุดประสงค์เพื่อสร้างการรับรู้และการมีส่วนร่วมกับแบรนด์ด้วยนะคะ
จุดเริ่มต้นของไอศกรีมส้มตำ
ตำมั่ว แบรนด์ส้มตำชื่อดัง สร้างความฮือฮาบนโลกโซเชียล ด้วยการเปิดตัว “ไอศกรีมส้มตำ” สร้างปรากฏการณ์สุดปั่น! ไอศกรีมส้มตำจากไอเดียในวัน April Fool’s Day กลายเป็นของจริง เมื่อผู้บริโภคเรียกร้อง แต่แบรนด์ก็จัดให้จริง ๆ ไม่ขัดใจผู้บริโภคที่อยากลองชิม
ซึ่งในวัน April Fool’s Day ตำมั่วได้โพสต์ภาพไอศกรีมส้มตำลงบนโซเชียลมีเดีย โดยกระแสตอบรับที่ถล่มทลาย โพสต์ดังกล่าวได้รับการตอบรับอย่างล้นหลาม หลายคนคอมเมนต์แสดงความคิดเห็น บ้างก็อยากลองชิม บ้างก็แซวว่าเป็นไอเดียที่แปลกใหม่
FacebookFacebookXXLINELineในโลกที่แบรนด์ส่วนใหญ่แข่งกันปังบนโลกออนไลน์ การเลือกเปิดแคมเปญผ่าน “บิลบอร์ด” หรือสื่อ Out of Home กว่า 60 จุดทั่วเมือง อาจฟังดูย้อนยุคไปสักหน่อย…แต่ไม่ใช่สำหรับ Kaniva ที่ตั้งใจวางกลยุทธ์ให้แตกต่างค่ะ เพราะสิ่งที่แบรนด์กำลังทำ คือ การเจาะลึกหัวใจคนเลี้ยงสัตว์ ด้วยแคมเปญที่ไม่ได้เน้นแค่ขายอาหาร แต่เลือกสื่อสาร “ความรู้สึก” ระหว่างคนกับสัตว์เลี้ยง เพื่อสร้างภาพจำว่า แบรนด์นี้เข้าใจคุณ เหมือนที่คุณเข้าใจลูกรักสี่ขาของตัวเองเมื่อเป้าหมายคือการสร้าง Brand Love ที่ยั่งยืนในกลุ่ม New Gen แค่โปรโมชั่นหรือการจ้างพรีเซนเตอร์ดังอาจยังไม่พอ Kaniva เลยจัดใหญ่กับแคมเปญ Kaniva x BUS ดึงวงไอดอลชาย “BUS – Because of You I Shine” ทั้ง 12 คน มาแมตช์กับ 12 สายพันธุ์สัตว์เลี้ยง พร้อมทิ้งบอมบ์ความน่ารักทั่วเมือง ในแบบที่ใครผ่านก็ต้องหยุดมอง และใครรักสัตว์ก็ต้องเผลอยิ้มตาม จาก Insight คนรุ่นใหม่ → […]