Prosecutor’s Fallacy ตรรกะวิบัติของผู้กล่าวหา สถิติหลอกลวงในโฆษณา
Prosecutor’s Fallacy หรือ “ตรรกะวิบัติของผู้กล่าวหา” เป็นทฤษฎีทางสถิติที่เกิดขึ้นและพบเจอได้บ่อยๆ กับคดีความในชั้นศาลที่เกี่ยวข้องกับการพิสูจน์หลักฐานต่างๆ หรือแม้แต่ในเรื่องของการกล่าวอ้างถึงความแม่นยำในกระบวนการคัดกรองโรค เช่น การคัดกรอง COVID-19 ที่ก่อให้เกิดความเข้าใจผิดในรูปแบบของ “ตรรกะวิบัติ” ซึ่งความเข้าใจผิดของการตีความทางสถิติในลักษณะนี้เองค่ะ ที่ถูกนำมาใช้ให้เป็นประโยชน์ในเทอมของการตลาด ซึ่งเมื่อมีการนำมาใช้แล้วทำให้นักการตลาดสามารถสร้างคำโฆษณาของสินค้าได้อย่างทรงพลัง จากการเหนี่ยวนำด้วยทั้งเหตุผล และอารมณ์ของผู้บริโภค ด้วย Wording กล่าวอ้างทางสถิติที่เป็นจริง (หรือไม่นะ?!) ทางคณิตศาสตร์อย่างน่าเชื่อถือค่ะ 😊✨ คำถามก็คือ แล้วจากทฤษฎี “ตรรกะวิบัติของผู้กล่าวหา“ นี้,,,, 😎😉 คำตอบของปัญหาข้างต้นอยู่ในบทความนี้ค่ะ,,,, ซึ่งนิกจะขอพาทุกท่านไปทำความรู้จัก Prosecutor’s Fallacy ว่าคืออะไร มีหน้าตาของความสัมพันธ์ในรูปแบบคณิตศาสตร์เป็นอย่างไรผ่านสมการทางสถิติ พร้อมกับยกตัวอย่าง Case study ที่น่าสนใจสุดๆ ของผลิตภัณฑ์ที่ใช้ทฤษฎีนี้ในการสร้าง Ads ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้เราสามารถนำไปใช้งานในการทำ Marketing ของตนเองกันได้อย่างชาญฉลาด แถมเป็นโฆษณาที่กล่าวอ้างข้อมูลทางสถิติเพื่อเพิ่มความน่าเชื่อถือได้เหมือนสะกดจิตหมู่อีกด้วย!!=> ถ้าอย่างนั้น,,,, เรามาเริ่มกันเลยยย Prosecutor’s Fallacy และความน่าจะเป็น ก่อนที่เราจะเข้าไปทำความเข้าใจเกี่ยวกับการสร้าง Marketing fallacies สิ่งแรกที่เราจะต้องรู้จักและทำความเข้าก็คือเรื่องของความน่าจะเป็นแบบมีเงื่อนไขค่ะ ヾ(^▽^*))) […]